วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2561

ศาสนาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส

ศาสนาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส


ศาสนาของฝรั่งเศส


ชาวยุโรปนับถือศาสนาครสต์ มี 3 นิกาย
3.1 นิกายโรมันคาทอลิก เป็นศาสนาของกลุ่มประชากรผู้ใช้ภาษาโรแมนซ์หรือภาษาละติน ยกเว้นโรมาเนีย ประชากรนับถือนิกายออร์โธดอกซ์ ประชากรกลุ่มภาษาอื่น เช่น ไอร์แลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย เช็ก สโลวัก ฯลฯ
3.2 นิกายโปรเตสแตนต์ เป็นศาสนาของกลุ่มประชากรในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย เยอรมนี สหราชอาณาจักร
3.3 นิกายออร์โธดอกซ์ เป็นศาสนาของประชากรในประเทศคาบสมุทรบอลข่านและยุโรปตะวันออก เช่น กรีซ บัลแกเรีย มาซิโดเนีย ยูโกสลาเวีย โรมาเนีย รัสเซีย ยูเครน ฯลฯ

วัฒนธรรมของฝรั่งเศส

ชาวฝรั่งเศสมีวัฒนธรรมการนอนกลางวัน จึงส่งผลให้ประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสชอบนอนกลางวันตามไปด้วย อย่างไรก็ตามในส่วนลึกของวัฒนธรรม คล้ายคลึงกับของอังกฤษและอิตาลีอยู่แล้ว ไม่สามารถแบ่งได้ชัดเจนเด่นชัด เช่น การจับมือ ภาษา เป็นต้น เนื่องจากชนพื้นเมืองเป็น ชนผิวดำ และสีผิว จึงได้วัฒนธรรมตามกันมา
ชาวฝรั่งเศสมีวัฒนธรรมการนอนกลางวัน จึงส่งผลให้ประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสชอบนอนกลางวันตามไปด้วย อย่างไรก็ตามในส่วนลึกของวัฒนธรรม คล้ายคลึงกับของอังกฤษและอิตาลีอยู่แล้ว ไม่สามารถแบ่งได้ชัดเจนเด่นชัด เช่น การจับมือ ภาษา เป็นต้น
สิ่งที่ควรทำ – ไม่ควรทำ
1.คุณสามารถกล่าวทักทายว่าบงชู (Bonjour) ซึ่งหมายถึงสวัสดีตอนเช้า
หรือบงซัว (Bonsoir) ที่หมายถึงสวัสดีตอนเย็น
กล่าวลาเมื่อจะจากไปด้วยคำว่า โอ”เครอ”วัว (Au revoir) ที่แปลว่า ลาก่อน
และกล่าวขอบคุณว่า แม็กซิ (Merci) ได้
2. วิธีทักทายสำหรับคนที่รู้จักกันนั้นคือการแลกจูบแก้มซึ่งกันและกัน ไม่ว่าคู่ทักทายของคุณจะเป็นหญิงหรือชาย ตามงานพิธีต่างๆ ชาวฝรั่งเศสใช้วิธีชนแก้มกันทั้งสองข้าง (la bise) ว่ากันว่าชาวปารีสนิยมแนบแก้มกันถึง 4 ครั้ง ถ้าเป็นเมืองนอกเขตปารีสทำเพียง 2 ครั้ง
3. เมื่อไปรับประทานอาหารตามภัตราคารอย่าตะโกนเรียกบริกรว่า”การ์ซ็อง (garçon)” ที่ตรงกันกับภาษาอังกฤษว่า boy ซึ่งในภาษาฝรั่งเศสถือว่าไม่ สุภาพ ควรเรียกว่าเมอซิเออร์ และกล่าวคำว่า ซิล วู เปล ซึ่งแปลว่ากรุณา เวลาสั่งอาหารหรือขออะไรเพิ่มเติมจึงถือว่าสุภาพและควรถอดหมวก เสื้อคลุม โอเวอร์โค๊ดหรือแจ้กเก็ต เพื่อแสดงความเคารพต่อสถานที่ก่อนทุกครั้ง
4. สนามหญ้าในฝรั่งเศสมีไว้ให้ดูและชื่นชมความเขียวชอุ่ม ห้ามแตะต้องเด็ดขาด ยกเว้นตามสนามหญ้าที่เปิดเป็นสาธารณะ หากคุณละเมิดกฏเข้าไปในสนามหญ้าซึ่งมีป้าย pelouse interdite แปลว่า สนามหญ้าห้ามเข้า กำกับอยู่ ถือว่าคุณทำผิดกฏหมาย
5. เมื่อชาวฝรั่งเศสต้องการโบกมือลาเขาจะยกมือพร้อมกับขยับนิ้วขึ้นลง ๆ
6. รถแท็กซี่ในฝรั่งเศสนั่งได้ 3 คน เฉพาะที่ตรงด้านหลังคนขับเท่านั้นที่นั่งด้านขวามือข้างหน้าคู่กับคนขับ นั้น มักไว้ให้เป็นที่นั่งของสัตว์เลี้ยง

ขนบธรรมเนียมและประเพณีของฝรั่งเศส


1. French Greetings (the French kiss)
วิธีการทักทายของชาวฝรั่งเศสก็เป็นอย่างหนึ่งที่เพื่อนๆอาจรู้สึกไม่ชิน นอกจากการจับมือแล้ว การจูบกันด้วยแก้มทั้งสองข้างก็เป็นทักทายเช่นกัน หากเป็นเพื่อนสนิทจะจูบแก้มกันสามครั้งขึ้นไป แล้วแต่ธรรมเนียมของแคว้นนั้นๆ
2. Tipping in France
โดยปกติในฝรั่งเศสจะไม่นิยมให้ทิปกัน แต่สำหรับพนักงานที่ให้บริการดีแล้วเราพอใจอยากจะให้ทิป ก็สามารถให้ได้ แต่ควรจะให้อย่างต่ำ 1 ยูโรครับ ถ้าต่ำกว่านี้อย่าให้เลยดีกว่า เพราะจะดูน่าเกลียดแทนที่จะดูดี
3. French cuisine
คนฝรั่งเศสกินอาหารแบบเรียงตามลำดับหรือคอร์ส  จบไปทีละคอร์ส  โดยทั่วไปจะมี 3 คอร์สคือ entré,  plate principal และ cheese course หรือ dessert  ถ้าเสิร์ฟแบบเต็มยศก็เพิ่มอีกสามเป็น  6 คอร์สโดยเริ่มจาก  aperitif หรือออร์เดิร์ฟ  แล้วเป็น entré ซึ่งมักจะเป็นซุป ตามด้วยอาหารจานหลักที่เป็นเนื้อสัตว์  ต่อด้วยสลัดแล้วตามด้วยเนยแข็งสารพัดชนิด ปิดท้ายด้วยของหวานหรือผลไม้พร้อมกับกาแฟ  ส่วนขนมปัง ไวน์ และน้ำแร่จะมีเสิร์ฟตลอดเวลาที่กินอาหาร
4. French etiquette at meals
คนฝรั่งเศสใช้มีดและส้อมในการกินอาหารเกือบทุกอย่าง  ไม่เว้นแม้กระทั่งเฟร้นฟรายส์  โดยถือมีดด้วยมือขวา และมือซ้ายถือส้อม ไม่มีการเปลี่ยนมือไปมาเหมือนคนอเมริกัน และที่สำคัญจะต้องวางมือไว้บนโต๊ะ ไม่วางไว้บนหน้าตัก นอกจากนี้ยังมีมารยาทบนโต๊ะอาหารอื่นๆที่ควรต้องเรียนรู้อีกมาก

ชุดประจำชาติฝรั่งเศส


ผู้ชายจะสวมวิกที่เรียกว่า Cadogan (กาโดกอง) มีม้วนเป็นหลอดอยู่สองข้าง รูปทรงของหมวกและการผูกผ้าพันคอของผู้ชาย สวมเสื้อคลุมยาวปิดสะโพก นุ่งกางเกงรัดขา ใส่ถุงเท้ายาว เสื้อชั้น ในเป็นเชิ้ต มีจีบระบายที่อกและแขน มีเสื้อตัวสั้น ทับก่อนใส่เสื้อคลุม
ผู้หญิง เป็นเสื้อรัดรูป คอลึก ชุดมีลูกไม้และริบบิ้น  รูปทรงกระโปรงบานในลักษณะวงกลม มีโครงในกระโปรงเรียกว่า ศาสนาของฝรั่งเศส
ศาสนา3
ศาสนา2
ชาวยุโรปนับถือศาสนาครสต์ มี 3 นิกาย

3.1 นิกายโรมันคาทอลิก เป็นศาสนาของกลุ่มประชากรผู้ใช้ภาษาโรแมนซ์หรือภาษาละติน ยกเว้นโรมาเนีย ประชากรนับถือนิกายออร์โธดอกซ์ ประชากรกลุ่มภาษาอื่น เช่น ไอร์แลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ ออสเตรีย เช็ก สโลวัก ฯลฯ

3.2 นิกายโปรเตสแตนต์ เป็นศาสนาของกลุ่มประชากรในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย เยอรมนี สหราชอาณาจักร

3.3 นิกายออร์โธดอกซ์ เป็นศาสนาของประชากรในประเทศคาบสมุทรบอลข่านและยุโรปตะวันออก เช่น กรีซ บัลแกเรีย มาซิโดเนีย ยูโกสลาเวีย โรมาเนีย รัสเซีย ยูเครน ฯลฯ

วัฒนธรรมของฝรั่งเศส
ชาวฝรั่งเศสมีวัฒนธรรมการนอนกลางวัน จึงส่งผลให้ประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสชอบนอนกลางวันตามไปด้วย อย่างไรก็ตามในส่วนลึกของวัฒนธรรม คล้ายคลึงกับของอังกฤษและอิตาลีอยู่แล้ว ไม่สามารถแบ่งได้ชัดเจนเด่นชัด เช่น การจับมือ ภาษา เป็นต้น เนื่องจากชนพื้นเมืองเป็น ชนผิวดำ และสีผิว จึงได้วัฒนธรรมตามกันมา

ชาวฝรั่งเศสมีวัฒนธรรมการนอนกลางวัน จึงส่งผลให้ประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสชอบนอนกลางวันตามไปด้วย อย่างไรก็ตามในส่วนลึกของวัฒนธรรม คล้ายคลึงกับของอังกฤษและอิตาลีอยู่แล้ว ไม่สามารถแบ่งได้ชัดเจนเด่นชัด เช่น การจับมือ ภาษา เป็นต้น

สิ่งที่ควรทำ – ไม่ควรทำ

1.คุณสามารถกล่าวทักทายว่าบงชู (Bonjour) ซึ่งหมายถึงสวัสดีตอนเช้า
หรือบงซัว (Bonsoir) ที่หมายถึงสวัสดีตอนเย็น
กล่าวลาเมื่อจะจากไปด้วยคำว่า โอ”เครอ”วัว (Au revoir) ที่แปลว่า ลาก่อน
และกล่าวขอบคุณว่า แม็กซิ (Merci) ได้

2. วิธีทักทายสำหรับคนที่รู้จักกันนั้นคือการแลกจูบแก้มซึ่งกันและกัน ไม่ว่าคู่ทักทายของคุณจะเป็นหญิงหรือชาย ตามงานพิธีต่างๆ ชาวฝรั่งเศสใช้วิธีชนแก้มกันทั้งสองข้าง (la bise) ว่ากันว่าชาวปารีสนิยมแนบแก้มกันถึง 4 ครั้ง ถ้าเป็นเมืองนอกเขตปารีสทำเพียง 2 ครั้ง

3. เมื่อไปรับประทานอาหารตามภัตราคารอย่าตะโกนเรียกบริกรว่า”การ์ซ็อง (garçon)” ที่ตรงกันกับภาษาอังกฤษว่า boy ซึ่งในภาษาฝรั่งเศสถือว่าไม่ สุภาพ ควรเรียกว่าเมอซิเออร์ และกล่าวคำว่า ซิล วู เปล ซึ่งแปลว่ากรุณา เวลาสั่งอาหารหรือขออะไรเพิ่มเติมจึงถือว่าสุภาพและควรถอดหมวก เสื้อคลุม โอเวอร์โค๊ดหรือแจ้กเก็ต เพื่อแสดงความเคารพต่อสถานที่ก่อนทุกครั้ง

4. สนามหญ้าในฝรั่งเศสมีไว้ให้ดูและชื่นชมความเขียวชอุ่ม ห้ามแตะต้องเด็ดขาด ยกเว้นตามสนามหญ้าที่เปิดเป็นสาธารณะ หากคุณละเมิดกฏเข้าไปในสนามหญ้าซึ่งมีป้าย pelouse interdite แปลว่า สนามหญ้าห้ามเข้า กำกับอยู่ ถือว่าคุณทำผิดกฏหมาย

5. เมื่อชาวฝรั่งเศสต้องการโบกมือลาเขาจะยกมือพร้อมกับขยับนิ้วขึ้นลง ๆ

6. รถแท็กซี่ในฝรั่งเศสนั่งได้ 3 คน เฉพาะที่ตรงด้านหลังคนขับเท่านั้นที่นั่งด้านขวามือข้างหน้าคู่กับคนขับ นั้น มักไว้ให้เป็นที่นั่งของสัตว์เลี้ยง

ขนบธรรมเนียมและประเพณีของฝรั่งเศส
French Greetings (the French kiss)
Le Addition
1. French Greetings (the French kiss)
วิธีการทักทายของชาวฝรั่งเศสก็เป็นอย่างหนึ่งที่เพื่อนๆอาจรู้สึกไม่ชิน นอกจากการจับมือแล้ว การจูบกันด้วยแก้มทั้งสองข้างก็เป็นทักทายเช่นกัน หากเป็นเพื่อนสนิทจะจูบแก้มกันสามครั้งขึ้นไป แล้วแต่ธรรมเนียมของแคว้นนั้นๆ

2. Tipping in France
โดยปกติในฝรั่งเศสจะไม่นิยมให้ทิปกัน แต่สำหรับพนักงานที่ให้บริการดีแล้วเราพอใจอยากจะให้ทิป ก็สามารถให้ได้ แต่ควรจะให้อย่างต่ำ 1 ยูโรครับ ถ้าต่ำกว่านี้อย่าให้เลยดีกว่า เพราะจะดูน่าเกลียดแทนที่จะดูดี

3. French cuisine
คนฝรั่งเศสกินอาหารแบบเรียงตามลำดับหรือคอร์ส  จบไปทีละคอร์ส  โดยทั่วไปจะมี 3 คอร์สคือ entré,  plate principal และ cheese course หรือ dessert  ถ้าเสิร์ฟแบบเต็มยศก็เพิ่มอีกสามเป็น  6 คอร์สโดยเริ่มจาก  aperitif หรือออร์เดิร์ฟ  แล้วเป็น entré ซึ่งมักจะเป็นซุป ตามด้วยอาหารจานหลักที่เป็นเนื้อสัตว์  ต่อด้วยสลัดแล้วตามด้วยเนยแข็งสารพัดชนิด ปิดท้ายด้วยของหวานหรือผลไม้พร้อมกับกาแฟ  ส่วนขนมปัง ไวน์ และน้ำแร่จะมีเสิร์ฟตลอดเวลาที่กินอาหาร

4. French etiquette at meals
คนฝรั่งเศสใช้มีดและส้อมในการกินอาหารเกือบทุกอย่าง  ไม่เว้นแม้กระทั่งเฟร้นฟรายส์  โดยถือมีดด้วยมือขวา และมือซ้ายถือส้อม ไม่มีการเปลี่ยนมือไปมาเหมือนคนอเมริกัน และที่สำคัญจะต้องวางมือไว้บนโต๊ะ ไม่วางไว้บนหน้าตัก นอกจากนี้ยังมีมารยาทบนโต๊ะอาหารอื่นๆที่ควรต้องเรียนรู้อีกมาก

ชุดประจำชาติฝรั่งเศส
Marie Antoinette
Costume national
ผู้ชายจะสวมวิกที่เรียกว่า Cadogan (กาโดกอง) มีม้วนเป็นหลอดอยู่สองข้าง รูปทรงของหมวกและการผูกผ้าพันคอของผู้ชาย สวมเสื้อคลุมยาวปิดสะโพก นุ่งกางเกงรัดขา ใส่ถุงเท้ายาว เสื้อชั้น ในเป็นเชิ้ต มีจีบระบายที่อกและแขน มีเสื้อตัวสั้น ทับก่อนใส่เสื้อคลุม

ผู้หญิง เป็นเสื้อรัดรูป คอลึก ชุดมีลูกไม้และริบบิ้น  รูปทรงกระโปรงบานในลักษณะวงกลม มีโครงในกระโปรงเรียกว่า Doble Panmiers (โดเบลอ ปองมิเยร์) ตกแต่งเป็นผ้าต่วนไหมและกำมะหยี่ กระโปรงจะมีผ่าหน้าและยกหยัก รั้งด้านข้าง ทั้ง 2 ข้างขึ้น ไปพองอยู่ด้านข้าง 2 ข้าง ด้านหลังด้วยการจับจีบเดรฟ มีโครงกระโปรงที่เรียกว่า สุ่มไก่ ทำด้วยโลหะสามารถกางและหุบได้ ทรงผมประดับด้วยไข่มุก ขนนก และดอกไม้  (โดเบลอ ปองมิเยร์) ตกแต่งเป็นผ้าต่วนไหมและกำมะหยี่ กระโปรงจะมีผ่าหน้าและยกหยัก รั้งด้านข้าง ทั้ง 2 ข้างขึ้น ไปพองอยู่ด้านข้าง 2 ข้าง ด้านหลังด้วยการจับจีบเดรฟ มีโครงกระโปรงที่เรียกว่า สุ่มไก่ ทำด้วยโลหะสามารถกางและหุบได้ ทรงผมประดับด้วยไข่มุก ขนนก และดอกไม้ 

รู้จักเชงเก้นวีซ่า (Schengen Visa)

“เชง – เก้น” วีซ่าคืออะไร?


บางคนอาจสงสัยว่า วีซ่าเช็งเก้นคืออะไร ทำไมต้องมีวีซ่าเชงเก้นเข้าประเทศแถบยุโรป คำตอบคือ การที่คุณจะเดินทางท่องเที่ยวไปในประเทศแถบยุโรป เอกสารสำคัญอย่างหนึ่งที่นำคุณเข้าสู่ประเทศในยุโรปได้ คือ “วีซ่าเช็งเก้น” (Schengen Visa) ฉนั้น วันนี้ “มัชรูมทราเวล” จึงขอเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ “วีซ่าเช็งเก้นสำหรับท่องเที่ยว” พร้อมทั้งเอกสารสำคัญอื่นๆ ที่ควรจัดเตรียมก่อนไปเที่ยวยุโรป…




มารู้จักวีซ่าเช็งเก้นสำหรับท่องเที่ยวกัน
วีซ่าเช็งเก้น หรือ เช็งเก้นวีซ่า เป็นวีซ่าที่ใช้ในการเดินทางเข้า - ออก ประเทศในแถบยุโรปที่มีข้อตกลงร่วมกันว่า ถ้าใครถือ วีซ่าเช็งเก้น มาละก็ ต้องอนุญาตให้เดินทางเข้า-ออกประเทศนั้นๆ ถือเป็นวีซ่าที่เหมาะสำหรับนักเดินทางที่ต้องมีการเดินทางแบบต่อเนื่อง เพราะว่าไม่ต้องเสียเวลาไปเที่ยวขอวีซ่าเข้าออกทีละประเทศ 



วีซ่าเช็งเก้น เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยว ที่เดินทางไปเที่ยวยุโรป หลายประเทศต่อเนื่องกันในทริปเดียว โดยสามารถยื่นคำร้องขอวีซ่า แบบเดินทางเข้า - ออกครั้งเดียว (Single) หรือเดินทางเข้า - ออกหลายครั้งก็ได้ (Multiple) แต่ทั้งนี้รวมเวลาที่พำนักทั้งหมดแล้ว ต้องไม่เกิน 90 วัน ภายในระยะเวลา 6 เดือน โดยเริ่มนับตั้งแต่วันแรกที่เดินทางเข้าประเทศในกลุ่มสัญญาเช็งเก็น (Schengen)





อย่างไรก็ตาม การทำวีซ่าเช็งเก็น ทำให้นักท่องเที่ยวไม่ต้องเสียเวลายื่นวีซ่าขอเข้าประเทศ กับทุก ๆ ประเทศที่จะเดินทางเข้าไปเที่ยว มีเพียงวีซ่าเชงเก็น ก็สามารถเข้าได้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิก Schengen โดยยื่นคำร้องขอวีซ่าต่อสถานทูตของประเทศที่จะเดินทางเข้าไปเป็นประเทศแรกที่ผู้เดินทาง เดินทางไปถึงยุโรป (ตัวอย่างเช่น เดินทางไป อิตาลี - สวิส - ฝรั่งเศส ประเทศที่จะออก วีซ่าเชงเก็น ให้คือ ประเทศ อิตาลี)


  


ประเทศในยุโรปที่อยู่ในข้อตกลงของวีซ่าเช็งเก้น 
วีซ่าเช็งเก้น ใช้เดินทางเข้าออกระหว่างประเทศในยุโรป 26 ประเทศ คือ ออสเตรีย เบลเยี่ยม เช็กรีพับบลิค เดนมาร์ค ฟินแลนด์ เอสโทเนีย ฝรั่งเศส เยอรมันนี กรีซ ฮังการี ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลัทเวีย ลิทัวเนีย ลักเซมเบิร์ก มัลตา เนเธอแลนด์ นอร์เวย์ โปแลนด์ โปรตุเกต สโลวาเกีย สโลเวเนีย สเปน สวีเดน และสวิสเซอแลนด์



นอกจากนี้ ยังมีประเทศสมาชิก European Economic Area (EEA) แต่ยังไม่สามารถเข้าด้วยวีซ่าเช็งเก้น คือต้องขอวีซ่าแยกต่างหาก และเวลาขอ เช็งเก้น ต้องขอเป็น Multiple Entries เพราะถ้าเข้าประเทศพวกนี้ เท่ากับออกจากเชงเก้นไปแล้ว หากจะกลับเข้ามาใหม่ ต้องมีวีซ่า (ปีในวงเล็บ คือปีที่ขอเข้าเป็นสมาชิก) ได้แก่ Bulgaria (2007), Cyprus (2004) จะเข้า, Ireland (2000), Romania (2007) ยังไม่ได้เข้าเป็นสมาชิก แต่คาดว่าจะเป็นเช็งเก้นปี 2011, The United Kingdom. (1999) เป็นสมาชิก EU แต่ไม่ใช่เช่เชงเก้น ต้องไปขอวีซ่าอังกฤษ, The Republic of Croatia สมัครเข้าเป็นสมาชิก หากได้รับ Multiple Schengen Visa สามารถเดินทางเข้า Croatia




หลักการในการขอวีซ่านั้น ให้ดูว่าคุณจะเดินทางไปพำนักที่ประเทศไหนในกลุ่มนานที่สุด ก็ให้ไปทำเรื่องยื่นคำร้องขอวีซ่าที่สถานทูตนั้น หากพำนักหลายประเทศด้วยจำนวนวันที่เท่ากัน ให้ทำเรื่องยื่นคำร้องขอวิซ่าที่สถานฑูตของประเทศแรกที่เดินทางเข้า


ประเภทของวีซ่าเช็งเก้น (Categories)
วีซ่าเช็งเก้น ประเภท A เป็นวีซ่าทรานซิท กรณีที่เดินทางทางอากาศ และมีการ stop-over หรือ แวะ ในประเทศที่เป็นเชงเก้น ในระหว่างการเดินทางระหว่างประเทศหนึ่ง ไป อีกประเทศหนึ่ง แต่ถ้าไม่ได้ออกนอกสนามบิน ก็ไม่ต้องขอวีซ่าประเภทนี้

วีซ่าเช็งเก้น ประเภท B เป็นวีซ่าทรานซิท เช่นกัน คล้ายกับประเภท A แต่ ประเภท B เป็นวีซ่าที่มีอายุไม่เกิน 5 วัน สำหรับผู้ที่ถือพาสสปอร์ต ที่ไม่ได้เป็น visa-free สำหรับประเทศปลายทาง (ที่ไม่ใช่เชงเก้น) เช่น คนไทย จะเดินทางไป สหรัฐอเมริกา ต้องมีวีซ่าอเมริกา กรณีนี้ หากจะแวะ”ผ่าน” ยุโรป สามารถขอวีซ่าประเภทนี้ได้ แต่ได้ไม่เกินครั้งละ 5 วันเท่านั้น



วีซ่าเช็งเก้น ประเภท C Short-term stay visa วีซ่าเพื่อการพำนักระยะสั้น ส่วนใหญ่แล้ว จะขอเป็นวีซ่าประเภทนี้กัน รวมถึงการเดินทางมาท่องเที่ยวด้วย และวีซ่าประเภทนี้ผู้เดินทางไม่สามารถอยู่ใน EU ได้เกิน 90 วัน ภายในระยะเวลารวมครึ่งปี (เช่น อาจจะมาหลายครั้งภายใน 6 เดือน ครั้งแรกอยู่ 30 วัน ครั้งสองอยู่ 30 วัน ครั้งที่สาม ถ้ายังอยู่ในระยะหกเดือน ไม่สามารถขอวีซ่าเกิน 30 วันแล้ว เพราะนั่นจะทำให้รวมกันแล้วเกิน 90 วันภายใน 6 เดือน)

วีซ่าเช็งเก้น ประเภท D วีซ่าประเภทนี้ เป็นVisa แบบ Long Stay อยู่เกิน 90 วัน ส่วนการเดินทางไปประเทศระหว่างกลุ่มเช็งเก้นด้วยกันได้หรือไม่ ก็แล้วแต่กฎระเบียบแต่ละประเทศที่ไม่เหมือนกัน 

เช่น ประเทศเบลเยี่ยมจะต้องอยู่ที่คุณขอไปเท่านั้น ถ้าเป็นวีซ่านักเรียน สถานทูตจะออกวิซ่า type D ให้ คือต้องเข้าเฉพาะเบลเยี่ยม และห้ามออกไปประเทศอื่น จนกว่าจะไปทำเรื่องขอ ID นักเรียนที่เบลเยี่ยมซะก่อน (คือมาถึงที่เบลเยี่ยมแล้ว ให้รีบไปทำเรื่องเลย) พอได้ ID นี้แล้วถึงสามารถเดินทางไปประเทศในกลุ่มเชงเก้นประเทศอื่นได้ แต่ถ้าเป็นวีซ่าเช้งเก้น ประเทศฝรั่งเศส จะสามารถเข้าออกประเทศในกลุ่มเช็งเก้นด้วยกันได้เลย




วีซ่าเช็งเก้น มีอายุเท่าไหร่?
วีซ่าเช็งเก้น มีอายุเท่าไหร่ ขึ้นอยู่กับรายการท่องเที่ยว (Itinerary) ที่คุณจะเดินทาง เช่น คุณเดินทางๆไปยุโรป 15 วัน ก็ได้ วีซ่าเช็งเก้น 15 วัน หรือมากกว่านั้น ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของสถานฑูตเจ้าหน้าที่ 

ยกตัวอย่างเช่น การได้วีซ่ามา 1 เดือน ก็หมายความว่าเราจะเดินทางไปเที่ยวประเทศนั้นๆ ได้ภายใน 1 เดือนน่ะ ถ้าเดินทางไปช้ากว่านั้นก็ต้องไปขอใหม่ ฉนั้น หากคุณวางแผนจะไปเที่ยวอีก 5-6 เดือนข้างหน้า ก็ไม่ต้องรีบไปขอ



โดยปกติ การเดินทางไปเที่ยวต่างประเทศ ถ้าเดินทางในช่วงที่วีซ่ายังมีอายุเดินทางออกไปได้อยู่ ก็สามารถเดินทางไปได้ปกติ แต่การพักอาศัยอยู่ในต่างประเทศจะขึ้นอยู่กับทางเจ้าหน้าที่ ตม.ของแต่ละประเทศ เค้าจะแสตมป์ให้


เอกสาร (มาตราฐาน) ที่ใช้ประกอบในการยื่นขอวิซ่าเชงเก้น
• แบบคำร้องที่กรอกและลงลายมือชื่อโดยสมบูรณ์โดยผู้ยื่นคำร้อง 
• สำหรับเด็กอายุไม่ถึง 18 ปี ให้พ่อแม่ยื่นแบบคำร้องได้โดยตัวเด็กไม่ต้องมา การกรอกคำร้องของเด็ก ให้กรอกเหมือนของผู้ใหญ่ แต่ช่องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย ให้ใส่ Parents และให้เซ็นต์ชื่อทั้งพ่อและแม่ หากพ่อหรือแม่เดินทางไปกับลูกแค่คนเดียว ต้องมีหนังสือยินยอมของพ่อหรือแม่คนที่ไม่ได้เดินทางไปด้วย โดยหนังสือนี้ต้องไปทำที่ว่าการอำเภอ 
• รูปถ่ายปัจจุบันขนาด 2 นิ้ว 1-2 ใบ (ฉากหลังสีขาวเท่านั้น) สถานทูตบางแห่งจะระบุขนาดหน้าในภาพด้วย เช่น สถานทูตเยอรมัน เวลาไปถ่ายรูปต้องบอกว่ารูปจะนำไปใช้สำหรับการขอเชงเก้นวิซ่า กรุณาตรวจสอบข้อมูลกับสถานฑูตก่อนถ่ายรูปด้วย
• หนังสือเดินทาง ซึ่งหลังจากเยือนประเทศต่าง ๆ แล้วยังต้องมีอายุใช้งานไม่ต่ำกว่า 6 เดือน และ สำเนาหนังสือเดินทาง 1 ฉบับ 
• หลักฐานสำรองเที่ยวบิน ระบุวันเดินทางไปและกลับ (**ห้ามซื้อตั๋วก่อนได้รับวีซ่า**) 
• ต้นฉบับหนังสือรับรองการทำงานของผู้ยื่นคำร้อง (สำหรับนักเรียน นักศึกษา : หลักฐานแสดงการศึกษา เช่น หนังสือรับรองสถานภาพนักเรียน นักศึกษา ซึ่งออกโดยโรงเรียน มหาวิทยาลัย
• สำเนาทะเบียนสมรส หรือทะเบียนหย่า
• สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ หรือนามสกุล
• หลักฐานการเงินของผู้ยื่นคำร้องซึ่งแสดงว่าสามารถรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในระหว่างการพำนักอยู่ในกลุ่มประเทศเชงเก้นได้ คือ สมุดคู่ฝากเงินธนาคารของผู้ยื่นคำร้องอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไปพร้อมสำเนา หรือ หนังสือรับรอง เงินฝากที่ออกโดยธนาคาร (แล้วแต่เงื่อนไขของแต่ละประเทศ ซึ่งต้องตรวจสอบรายละเอียดก่อนยื่นคำขอ)
• ประกันการเดินทาง (Travel Insurance) วงเงิน 2 ล้านขึ้นไป ซึ่งต้องเป็นประกันที่คุ้มครองทั้งทวีปยุโรป ไม่ใช่ประเทศใดประเทศหนึ่ง
• ค่าธรรมเนียมวีซ่าเป็นเงินบาท (ยกเว้นประเทศฮังการี ต้องจ่ายเป็นเงินยูโร) รับเฉพาะเงินสดเท่านั้นต้องเตรียมเงินไปให้พอดี (** ราคาอาจเปลี่ยนแปลง โปรดโทรเช็ค **) 




สำหรับคนที่จะไปขอ วีซ่าเช็งเก้น ควรเตรียมตัวให้พร้อม เพราะว่าไม่อย่างนั้นอาจจะถูกปฏิเสธการให้วีซ่าได้ แนะนำว่า คุณควรทำแผนการเดินทางพร้อม กับการสำรองตั๋วเครื่องบินและที่พักไว้ให้สอดคล้องกับแผนการเดินทางของเราไว้ด้วย




ส่วนโรงแรมที่พัก คุณก็สามารถค้นหาและเทียบราคาก่อนจองได้ใน อินเทอร์เน็ตของโรงแรม หรือค้นหาข้อมูลโรงแรมจากอินเทอร์เน็ตได้เอง หรือ ปรึกษาบริษัททัวร์ที่มีมากมายในประเทศ สำหรับการจองที่พัก บางเว็บไซต์ก็ไม่ได้มีการเก็บเงินทั้งก้อนไป เค้าจะเก็บเฉพาะค่า deposit แต่พอเรายกเลิกการจองก็อาจจะเสียแค่ค่า deposit ส่วนบางเว็บอาจจะ charge เราไปทั้งก้อน แต่มีโอกาสให้เรายกเลิก พร้อมคืนเงินให้ทั้งก้อนในช่วงเวลาที่กำหนดให้

  

การไปยื่นขอวีซ่า คุณจึงควรเตรียมพวกเอกสารการจองตั๋วเครื่องบินและเอกสารการจองที่พักไว้ตามแผนการเดินทางที่เราวางไว้ด้วย เพื่อให้เจ้าหน้าที่สถานฑูตเค้าได้เห็นภาพการท่องเที่ยวของเราและเคลิ้มไปกับเรา


 

ที่สำคัญ อย่าลืมตรวจสอบให้เรียบร้อยเกี่ยวกับเอกสารการเดินทาง เช่น หนังสือเดินทางต้องไม่หมดอายุก่อนวันเดินทาง 6 เดือน, การเดินทางไปยังประเทศจุดหมายปลายทาง ต้องเดินทางจากประเทศนั้น ก่อนวันหมดอายุ, ในช่วงเดือนเมษายน ตุลาคม ธันวาคม เป็นช่วงที่มีนักเดินทางท่องเที่ยวเป็นจำนวนมาก คุณควรยื่นวีซ่าล่วงหน้าก่อนวันเดินทาง 60 วัน อย่างน้อย

เมื่อคุณได้วีซ่ามาแล้ว ก็คงกินอิ่มนอนหลับแล้วล่ะ “มัชรูมทราเวล” ขอให้โชคดีกันทุกคน แล้วถ้าไปเที่ยวมาแล้วก็มาเล่าให้ฟังบ้าง...


วันพุธที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2561

Maastricht



Maastricht is a city and a municipality in the southeast of the Netherlands. It is the capital and largest city of the province of Limburg. Maastricht is located on both sides of the Meuse (Dutch: Maas), at the point where the Jeker joins it. It is adjacent to the border with Belgium.


Maastricht
Mestreech  (Limburgish)
City and municipality

From top to bottom, left to right: Meuse river in winter · Town Hall by night · sidewalk cafés at Onze Lieve Vrouweplein · Saint Servatius Bridge · Our Lady, Star of the Sea chapel · St. John's and St. Servatius' churches at Vrijthof square · View from Mount Saint Peter

Maastricht developed from a Roman settlement to a Medieval religious centre. In the 16th century it became a garrison town and in the 19th century an early industrial city.[9] Today, the town is a thriving cultural and regional hub. It became well-known through the Maastricht Treaty and as the birthplace of the euro.[10] Maastricht has 1677 national heritage buildings (Rijksmonumenten), the second highest number in the Netherlands, after Amsterdam. The town is popular with tourists for shopping and recreation, and has a large international student population. Maastricht is a member of the Most Ancient European Towns Network[11] and is part of the Meuse-Rhine Euroregion, which includes the nearby German and Belgian cities of AachenEupenHasseltLiège, and Tongeren. The Meuse-Rhine Euroregion is a metropolis with a population of about 3.9 million with several international universities.